ReadyPlanet.com
dot

dot
dot
dot
dot
dot
dot
dot
dot
dot
dot
dot
dot
dot
dot
dot
dot
dot
dot
dot
dot
ชื่อผู้ใช้ :
รหัสผ่าน :
เข้าสู่ระบบอัตโนมัติ :
bullet ลืมรหัสผ่าน
bullet สมัครสมาชิก
dot
ยังไม่มีสมาชิกที่ล็อกอินในขณะนี้
bulletบุคคลทั่วไป 6 คน
dot
dot

dot
สมาชิกใหม่ขณะนี้ คน


ตะแกรงเหล็กฉีกสตีลเมทัล
http://www.smlaudit.com/SMLaudit.html


เงินได้พึงประเมิน 8 article

 

เงินได้พึงประเมิน (8)

ในการคำนวณภาษีเงินได้บุคคลธรรมดานั้น ผู้คำนวณต้องมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับเงินได้พึงประเมินและหลักการเกี่ยวกับเงินได้พึงประเมิน

ขอนำประเด็นเงินได้พึงประเมินมาปุจฉา - วิสัชนา ต่อจากสัปดาห์ก่อนดังนี้

ปุจฉา มีหลักเกณฑ์เกี่ยวกับข้อกำหนดสำหรับการยกเว้นเงินได้พึงประเมินตามประมวลรัษฎากร อย่างไร

วิสัชนา ในการคำนวณภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาได้มีข้อกำหนดเกี่ยวกับยกเว้นเงินได้พึงประเมิน ซึ่งเป็นผลทำให้ผู้มีเงินได้ไม่ต้องนำรายการเงินได้ที่ได้รับยกเว้นไปรวมคำนวณเพื่อเสียภาษีเงินได้ไว้ ดังนี้

1.การยกเว้นเงินได้ตามมาตรา 42 แห่งประมวลรัษฎากร

2.การยกเว้นเงินได้ตามกฎกระทรวง ฉบับที่ 126 (พ.ศ.2509) ซึ่งออกตามความในประมวลรัษฎากรมาตรา 42 (17) แห่งประมวลรัษฎากร

3.การยกเว้นเงินได้ตามพระราชกฤษฎีกาฯ

4.การยกเว้นเงินได้โดยกฎหมายอื่น

ปุจฉา เงินได้พึงประเมินตามมาตรา 40 (1) แห่งประมวลรัษฎากรมีข้อกำหนดยกเว้นไว้อย่างไร

วิสัชนา รายการเงินได้พึงประเมินตามมาตรา 40 (1) แห่งประมวลรัษฎากร ที่ได้รับยกเว้นไม่ต้องนำไปรวมคำนวณ เพื่อเสียภาษีเงินได้มีดังนี้

1.ค่าเบี้ยเลี้ยง หรือค่าพาหนะซึ่งลูกจ้าง หรือผู้รับหน้าที่หรือตำแหน่งงาน หรือผู้รับทำงานให้ได้จ่ายไปโดยสุจริตตามความจำเป็น เฉพาะในการที่ต้องปฏิบัติการตามหน้าที่ของตน และได้จ่ายไปทั้งหมดในการนั้น (มาตรา 42 (1) แห่งประมวลรัษฎากร)

เงื่อนไขสำคัญของการยกเว้นเงินได้ในกรณีนี้ คือ ผู้มีเงินได้ไม่ว่าจะเป็นลูกจ้างหรือผู้รับหน้าที่ หรือผู้รับทำงานให้ต้องมีหลักฐานในอันที่จะพิสูจน์ว่าตนได้นำเงินได้ที่ได้รับมานั้น ไปใช้จ่ายเป็นค่าเบี้ยเลี้ยงหรือค่าพาหนะเพื่อการปฏิบัติงานในหน้าที่ของตน เช่น หลักฐานใบเสร็จรับเงิน ใบกำกับภาษีตั๋วค่าโดยสาร รายงานการเดินทาง ฯลฯ แล้วแต่กรณี ในกรณีที่ไม่มีหลักฐานที่จะพิสูจน์ได้ดังกล่าว เช่น การจ่ายค่าเบี้ยเลี้ยงหรือค่าพาหนะเป็นการเหมาจ่ายก็ย่อมไม่ได้รับยกเว้นภาษีเงินได้

กรณีบริษัทจ่ายเงินค่าน้ำมันรถให้กับพนักงาน หากจะได้รับยกเว้นตามมาตรา 42 (1) แห่งประมวลรัษฎากร ก็ต้องปฏิบัติตามหลักเกณฑ์และเงื่อนไขดังนี้ คือ ต้องมีหลักฐานการใช้รถและพิสูจน์จนเป็นที่เชื่อถือแก่การตรวจสอบไต่สวนของเจ้าพนักงานประเมิน กล่าวคือต้องจ่ายไปโดยสุจริตตามความจำเป็นเฉพาะในการที่ต้องปฏิบัติการตามหน้าที่ของตนเท่านั้น และได้จ่ายไปทั้งหมดเพื่อการปฏิบัติงานตามหน้าที่นั้นด้วย และบริษัทต้องมีระเบียบอนุญาตให้มีการเบิกจ่ายค่าน้ำมันรถได้ มีหนังสืออนุญาตพร้อมทั้งการบันทึกอนุญาตให้เดินทางไปติดต่องานจากที่ไหนถึงไหน ระยะทางเท่าใด ชื่อเจ้าของรถหมายเลขทะเบียนรถ ใบเสร็จรับเงินค่าน้ำมันรถที่มีการระบุชื่อเจ้าของรถ หมายเลขทะเบียนรถ ดังนั้น เงินค่าน้ำมันรถที่บริษัทได้จ่ายให้พนักงานส่วนที่นอกเหนือจากข้อ (1) เข้าลักษณะเป็นประโยชน์อย่างอื่นที่ได้เนื่องจากการจ้างแรงงาน ตามมาตรา 40 (1) แห่งประมวลรัษฎากร จึงต้องนำเงินจำนวนนี้ไปรวมคำนวณเพื่อเสียภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาด้วย (หนังสือกรมสรรพากรเลขที่ กค 0811 (กม.02)/1681 ลงวันที่ 6 พฤศจิกายน 2543)

อย่างไรก็ตาม เงินได้ค่าเบี้ยเลี้ยงหรือค่าพาหนะเหมาจ่ายในอัตราไม่เกินค่าพาหนะ หรือค่าเบี้ยเลี้ยงเดินทาง ตามอัตราที่รัฐบาลกำหนดไว้ในพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการ พ.ศ.2526 ก็ให้ได้รับยกเว้นภาษีเงินได้

อนึ่ง กรมสรรพากรได้ออกคำสั่งที่ ป. 59/2538 ลงวันที่ 25 มกราคม 2538 วางแนวทาง เพื่อให้เจ้าพนักงานสรรพากรถือปฏิบัติเกี่ยวกับ ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา กรณีค่าเบี้ยเลี้ยงเดินทางที่ได้รับยกเว้นไม่ต้องรวมคำนวณเพื่อเสียภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาตามมาตรา 42 (1) แห่งประมวลรัษฎากร ดังต่อไปนี้ ทั้งนี้ โดยให้มีผลใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2539 เป็นต้นไป ดังนี้

ข้อ 1 ค่าเบี้ยเลี้ยงเดินทางที่ลูกจ้างหรือผู้มีหน้าที่ หรือตำแหน่งงาน หรือผู้รับทำงานให้ได้รับเนื่องจากการเดินทางไปปฏิบัติงานตามหน้าที่ในประเทศหรือต่างประเทศเป็นครั้งคราว ให้ได้รับยกเว้นไม่ต้องรวมคำนวณเพื่อเสียภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาต้องเข้าลักษณะดังนี้

(1) ต้องเป็นค่าเบี้ยเลี้ยง ซึ่งบุคคลดังกล่าวได้จ่ายไปโดยสุจริตตามความจำเป็นเฉพาะในการที่จะต้องปฏิบัติการตามหน้าที่ของตน และได้จ่ายไปทั้งหมดในการนั้น

(2) ในกรณีบุคคลดังกล่าวได้รับค่าเบี้ยเลี้ยงในอัตราไม่เกินอัตราค่าเบี้ยเลี้ยงสูงสุดที่ทางราชการกำหนดจ่ายให้แก่ข้าราชการ ตามพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการในประเทศหรือต่างประเทศ แล้วแต่กรณี ตามหลักเกณฑ์การเบิกจ่ายในลักษณะเหมาจ่าย ให้ถือว่าค่าเบี้ยเลี้ยงดังกล่าว เป็นค่าเบี้ยเลี้ยงซึ่งบุคคลดังกล่าวได้จ่ายไปโดยสุจริตตามความจำเป็นเฉพาะในการที่จะต้องปฏิบัติการตามหน้าที่ของตน และได้จ่ายไปทั้งหมดในการนั้น โดยไม่ต้องมีหลักฐานการจ่ายเงินมาพิสูจน์

(3) ในกรณีบุคคลดังกล่าวได้รับค่าเบี้ยเลี้ยงในอัตราเกินกว่าอัตราค่าเบี้ยเลี้ยงตาม (2) และบุคคลดังกล่าว ไม่มีหลักฐานมาพิสูจน์ว่า ได้จ่ายไปโดยสุจริตตามความจำเป็นเฉพาะในการที่จะต้องปฏิบัติการตามหน้าที่ของตน และได้จ่ายไปทั้งหมดในการนั้น ให้ถือว่าค่าเบี้ยเลี้ยงดังกล่าวเป็นค่าเบี้ยเลี้ยง ซึ่งบุคคลนั้นได้จ่ายไปโดยสุจริตตามความจำเป็นเพียงเฉพาะในส่วนที่ไม่เกินอัตราตาม (2)

 

 

 

 

 

 

ข้อ 2 การเดินทางไปปฏิบัติงานตามหน้าที่ ตามข้อ 1 ต้องมีหลักฐานการได้รับอนุมัติให้เดินทางไปปฏิบัติงานนอกสำนักงานหรือนอกสถานที่จากนายจ้างหรือผู้จ่ายเงินได้ โดยไม่ต้องระบุลักษณะงานที่ทำ และระยะเวลาในการปฏิบัติงานตามหน้าที่ แล้วแต่กรณีด้วย

เงินได้พึงประเมิน (8)

ในการคำนวณภาษีเงินได้บุคคลธรรมดานั้น ผู้คำนวณต้องมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับเงินได้พึงประเมินและหลักการเกี่ยวกับเงินได้พึงประเมิน

ขอนำประเด็นเงินได้พึงประเมินมาปุจฉา - วิสัชนา ต่อจากสัปดาห์ก่อนดังนี้

ปุจฉา มีหลักเกณฑ์เกี่ยวกับข้อกำหนดสำหรับการยกเว้นเงินได้พึงประเมินตามประมวลรัษฎากร อย่างไร

วิสัชนา ในการคำนวณภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาได้มีข้อกำหนดเกี่ยวกับยกเว้นเงินได้พึงประเมิน ซึ่งเป็นผลทำให้ผู้มีเงินได้ไม่ต้องนำรายการเงินได้ที่ได้รับยกเว้นไปรวมคำนวณเพื่อเสียภาษีเงินได้ไว้ ดังนี้

1.การยกเว้นเงินได้ตามมาตรา 42 แห่งประมวลรัษฎากร

2.การยกเว้นเงินได้ตามกฎกระทรวง ฉบับที่ 126 (พ.ศ.2509) ซึ่งออกตามความในประมวลรัษฎากรมาตรา 42 (17) แห่งประมวลรัษฎากร

3.การยกเว้นเงินได้ตามพระราชกฤษฎีกาฯ

4.การยกเว้นเงินได้โดยกฎหมายอื่น

ปุจฉา เงินได้พึงประเมินตามมาตรา 40 (1) แห่งประมวลรัษฎากรมีข้อกำหนดยกเว้นไว้อย่างไร

วิสัชนา รายการเงินได้พึงประเมินตามมาตรา 40 (1) แห่งประมวลรัษฎากร ที่ได้รับยกเว้นไม่ต้องนำไปรวมคำนวณ เพื่อเสียภาษีเงินได้มีดังนี้

1.ค่าเบี้ยเลี้ยง หรือค่าพาหนะซึ่งลูกจ้าง หรือผู้รับหน้าที่หรือตำแหน่งงาน หรือผู้รับทำงานให้ได้จ่ายไปโดยสุจริตตามความจำเป็น เฉพาะในการที่ต้องปฏิบัติการตามหน้าที่ของตน และได้จ่ายไปทั้งหมดในการนั้น (มาตรา 42 (1) แห่งประมวลรัษฎากร)

เงื่อนไขสำคัญของการยกเว้นเงินได้ในกรณีนี้ คือ ผู้มีเงินได้ไม่ว่าจะเป็นลูกจ้างหรือผู้รับหน้าที่ หรือผู้รับทำงานให้ต้องมีหลักฐานในอันที่จะพิสูจน์ว่าตนได้นำเงินได้ที่ได้รับมานั้น ไปใช้จ่ายเป็นค่าเบี้ยเลี้ยงหรือค่าพาหนะเพื่อการปฏิบัติงานในหน้าที่ของตน เช่น หลักฐานใบเสร็จรับเงิน ใบกำกับภาษีตั๋วค่าโดยสาร รายงานการเดินทาง ฯลฯ แล้วแต่กรณี ในกรณีที่ไม่มีหลักฐานที่จะพิสูจน์ได้ดังกล่าว เช่น การจ่ายค่าเบี้ยเลี้ยงหรือค่าพาหนะเป็นการเหมาจ่ายก็ย่อมไม่ได้รับยกเว้นภาษีเงินได้

กรณีบริษัทจ่ายเงินค่าน้ำมันรถให้กับพนักงาน หากจะได้รับยกเว้นตามมาตรา 42 (1) แห่งประมวลรัษฎากร ก็ต้องปฏิบัติตามหลักเกณฑ์และเงื่อนไขดังนี้ คือ ต้องมีหลักฐานการใช้รถและพิสูจน์จนเป็นที่เชื่อถือแก่การตรวจสอบไต่สวนของเจ้าพนักงานประเมิน กล่าวคือต้องจ่ายไปโดยสุจริตตามความจำเป็นเฉพาะในการที่ต้องปฏิบัติการตามหน้าที่ของตนเท่านั้น และได้จ่ายไปทั้งหมดเพื่อการปฏิบัติงานตามหน้าที่นั้นด้วย และบริษัทต้องมีระเบียบอนุญาตให้มีการเบิกจ่ายค่าน้ำมันรถได้ มีหนังสืออนุญาตพร้อมทั้งการบันทึกอนุญาตให้เดินทางไปติดต่องานจากที่ไหนถึงไหน ระยะทางเท่าใด ชื่อเจ้าของรถหมายเลขทะเบียนรถ ใบเสร็จรับเงินค่าน้ำมันรถที่มีการระบุชื่อเจ้าของรถ หมายเลขทะเบียนรถ ดังนั้น เงินค่าน้ำมันรถที่บริษัทได้จ่ายให้พนักงานส่วนที่นอกเหนือจากข้อ (1) เข้าลักษณะเป็นประโยชน์อย่างอื่นที่ได้เนื่องจากการจ้างแรงงาน ตามมาตรา 40 (1) แห่งประมวลรัษฎากร จึงต้องนำเงินจำนวนนี้ไปรวมคำนวณเพื่อเสียภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาด้วย (หนังสือกรมสรรพากรเลขที่ กค 0811 (กม.02)/1681 ลงวันที่ 6 พฤศจิกายน 2543)

อย่างไรก็ตาม เงินได้ค่าเบี้ยเลี้ยงหรือค่าพาหนะเหมาจ่ายในอัตราไม่เกินค่าพาหนะ หรือค่าเบี้ยเลี้ยงเดินทาง ตามอัตราที่รัฐบาลกำหนดไว้ในพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการ พ.ศ.2526 ก็ให้ได้รับยกเว้นภาษีเงินได้

อนึ่ง กรมสรรพากรได้ออกคำสั่งที่ ป. 59/2538 ลงวันที่ 25 มกราคม 2538 วางแนวทาง เพื่อให้เจ้าพนักงานสรรพากรถือปฏิบัติเกี่ยวกับ ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา กรณีค่าเบี้ยเลี้ยงเดินทางที่ได้รับยกเว้นไม่ต้องรวมคำนวณเพื่อเสียภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาตามมาตรา 42 (1) แห่งประมวลรัษฎากร ดังต่อไปนี้ ทั้งนี้ โดยให้มีผลใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2539 เป็นต้นไป ดังนี้

ข้อ 1 ค่าเบี้ยเลี้ยงเดินทางที่ลูกจ้างหรือผู้มีหน้าที่ หรือตำแหน่งงาน หรือผู้รับทำงานให้ได้รับเนื่องจากการเดินทางไปปฏิบัติงานตามหน้าที่ในประเทศหรือต่างประเทศเป็นครั้งคราว ให้ได้รับยกเว้นไม่ต้องรวมคำนวณเพื่อเสียภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาต้องเข้าลักษณะดังนี้

(1) ต้องเป็นค่าเบี้ยเลี้ยง ซึ่งบุคคลดังกล่าวได้จ่ายไปโดยสุจริตตามความจำเป็นเฉพาะในการที่จะต้องปฏิบัติการตามหน้าที่ของตน และได้จ่ายไปทั้งหมดในการนั้น

(2) ในกรณีบุคคลดังกล่าวได้รับค่าเบี้ยเลี้ยงในอัตราไม่เกินอัตราค่าเบี้ยเลี้ยงสูงสุดที่ทางราชการกำหนดจ่ายให้แก่ข้าราชการ ตามพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการในประเทศหรือต่างประเทศ แล้วแต่กรณี ตามหลักเกณฑ์การเบิกจ่ายในลักษณะเหมาจ่าย ให้ถือว่าค่าเบี้ยเลี้ยงดังกล่าว เป็นค่าเบี้ยเลี้ยงซึ่งบุคคลดังกล่าวได้จ่ายไปโดยสุจริตตามความจำเป็นเฉพาะในการที่จะต้องปฏิบัติการตามหน้าที่ของตน และได้จ่ายไปทั้งหมดในการนั้น โดยไม่ต้องมีหลักฐานการจ่ายเงินมาพิสูจน์

(3) ในกรณีบุคคลดังกล่าวได้รับค่าเบี้ยเลี้ยงในอัตราเกินกว่าอัตราค่าเบี้ยเลี้ยงตาม (2) และบุคคลดังกล่าว ไม่มีหลักฐานมาพิสูจน์ว่า ได้จ่ายไปโดยสุจริตตามความจำเป็นเฉพาะในการที่จะต้องปฏิบัติการตามหน้าที่ของตน และได้จ่ายไปทั้งหมดในการนั้น ให้ถือว่าค่าเบี้ยเลี้ยงดังกล่าวเป็นค่าเบี้ยเลี้ยง ซึ่งบุคคลนั้นได้จ่ายไปโดยสุจริตตามความจำเป็นเพียงเฉพาะในส่วนที่ไม่เกินอัตราตาม (2)

 

 

 

 

 

 

ข้อ 2 การเดินทางไปปฏิบัติงานตามหน้าที่ ตามข้อ 1 ต้องมีหลักฐานการได้รับอนุมัติให้เดินทางไปปฏิบัติงานนอกสำนักงานหรือนอกสถานที่จากนายจ้างหรือผู้จ่ายเงินได้ โดยไม่ต้องระบุลักษณะงานที่ทำ และระยะเวลาในการปฏิบัติงานตามหน้าที่ แล้วแต่กรณีด้วย

 

เงินได้พึงประเมิน (8)

ในการคำนวณภาษีเงินได้บุคคลธรรมดานั้น ผู้คำนวณต้องมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับเงินได้พึงประเมินและหลักการเกี่ยวกับเงินได้พึงประเมิน

ขอนำประเด็นเงินได้พึงประเมินมาปุจฉา - วิสัชนา ต่อจากสัปดาห์ก่อนดังนี้

ปุจฉา มีหลักเกณฑ์เกี่ยวกับข้อกำหนดสำหรับการยกเว้นเงินได้พึงประเมินตามประมวลรัษฎากร อย่างไร

วิสัชนา ในการคำนวณภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาได้มีข้อกำหนดเกี่ยวกับยกเว้นเงินได้พึงประเมิน ซึ่งเป็นผลทำให้ผู้มีเงินได้ไม่ต้องนำรายการเงินได้ที่ได้รับยกเว้นไปรวมคำนวณเพื่อเสียภาษีเงินได้ไว้ ดังนี้

1.การยกเว้นเงินได้ตามมาตรา 42 แห่งประมวลรัษฎากร

2.การยกเว้นเงินได้ตามกฎกระทรวง ฉบับที่ 126 (พ.ศ.2509) ซึ่งออกตามความในประมวลรัษฎากรมาตรา 42 (17) แห่งประมวลรัษฎากร

3.การยกเว้นเงินได้ตามพระราชกฤษฎีกาฯ

4.การยกเว้นเงินได้โดยกฎหมายอื่น

ปุจฉา เงินได้พึงประเมินตามมาตรา 40 (1) แห่งประมวลรัษฎากรมีข้อกำหนดยกเว้นไว้อย่างไร

วิสัชนา รายการเงินได้พึงประเมินตามมาตรา 40 (1) แห่งประมวลรัษฎากร ที่ได้รับยกเว้นไม่ต้องนำไปรวมคำนวณ เพื่อเสียภาษีเงินได้มีดังนี้

1.ค่าเบี้ยเลี้ยง หรือค่าพาหนะซึ่งลูกจ้าง หรือผู้รับหน้าที่หรือตำแหน่งงาน หรือผู้รับทำงานให้ได้จ่ายไปโดยสุจริตตามความจำเป็น เฉพาะในการที่ต้องปฏิบัติการตามหน้าที่ของตน และได้จ่ายไปทั้งหมดในการนั้น (มาตรา 42 (1) แห่งประมวลรัษฎากร)

เงื่อนไขสำคัญของการยกเว้นเงินได้ในกรณีนี้ คือ ผู้มีเงินได้ไม่ว่าจะเป็นลูกจ้างหรือผู้รับหน้าที่ หรือผู้รับทำงานให้ต้องมีหลักฐานในอันที่จะพิสูจน์ว่าตนได้นำเงินได้ที่ได้รับมานั้น ไปใช้จ่ายเป็นค่าเบี้ยเลี้ยงหรือค่าพาหนะเพื่อการปฏิบัติงานในหน้าที่ของตน เช่น หลักฐานใบเสร็จรับเงิน ใบกำกับภาษีตั๋วค่าโดยสาร รายงานการเดินทาง ฯลฯ แล้วแต่กรณี ในกรณีที่ไม่มีหลักฐานที่จะพิสูจน์ได้ดังกล่าว เช่น การจ่ายค่าเบี้ยเลี้ยงหรือค่าพาหนะเป็นการเหมาจ่ายก็ย่อมไม่ได้รับยกเว้นภาษีเงินได้

กรณีบริษัทจ่ายเงินค่าน้ำมันรถให้กับพนักงาน หากจะได้รับยกเว้นตามมาตรา 42 (1) แห่งประมวลรัษฎากร ก็ต้องปฏิบัติตามหลักเกณฑ์และเงื่อนไขดังนี้ คือ ต้องมีหลักฐานการใช้รถและพิสูจน์จนเป็นที่เชื่อถือแก่การตรวจสอบไต่สวนของเจ้าพนักงานประเมิน กล่าวคือต้องจ่ายไปโดยสุจริตตามความจำเป็นเฉพาะในการที่ต้องปฏิบัติการตามหน้าที่ของตนเท่านั้น และได้จ่ายไปทั้งหมดเพื่อการปฏิบัติงานตามหน้าที่นั้นด้วย และบริษัทต้องมีระเบียบอนุญาตให้มีการเบิกจ่ายค่าน้ำมันรถได้ มีหนังสืออนุญาตพร้อมทั้งการบันทึกอนุญาตให้เดินทางไปติดต่องานจากที่ไหนถึงไหน ระยะทางเท่าใด ชื่อเจ้าของรถหมายเลขทะเบียนรถ ใบเสร็จรับเงินค่าน้ำมันรถที่มีการระบุชื่อเจ้าของรถ หมายเลขทะเบียนรถ ดังนั้น เงินค่าน้ำมันรถที่บริษัทได้จ่ายให้พนักงานส่วนที่นอกเหนือจากข้อ (1) เข้าลักษณะเป็นประโยชน์อย่างอื่นที่ได้เนื่องจากการจ้างแรงงาน ตามมาตรา 40 (1) แห่งประมวลรัษฎากร จึงต้องนำเงินจำนวนนี้ไปรวมคำนวณเพื่อเสียภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาด้วย (หนังสือกรมสรรพากรเลขที่ กค 0811 (กม.02)/1681 ลงวันที่ 6 พฤศจิกายน 2543)

อย่างไรก็ตาม เงินได้ค่าเบี้ยเลี้ยงหรือค่าพาหนะเหมาจ่ายในอัตราไม่เกินค่าพาหนะ หรือค่าเบี้ยเลี้ยงเดินทาง ตามอัตราที่รัฐบาลกำหนดไว้ในพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการ พ.ศ.2526 ก็ให้ได้รับยกเว้นภาษีเงินได้

อนึ่ง กรมสรรพากรได้ออกคำสั่งที่ ป. 59/2538 ลงวันที่ 25 มกราคม 2538 วางแนวทาง เพื่อให้เจ้าพนักงานสรรพากรถือปฏิบัติเกี่ยวกับ ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา กรณีค่าเบี้ยเลี้ยงเดินทางที่ได้รับยกเว้นไม่ต้องรวมคำนวณเพื่อเสียภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาตามมาตรา 42 (1) แห่งประมวลรัษฎากร ดังต่อไปนี้ ทั้งนี้ โดยให้มีผลใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2539 เป็นต้นไป ดังนี้

ข้อ 1 ค่าเบี้ยเลี้ยงเดินทางที่ลูกจ้างหรือผู้มีหน้าที่ หรือตำแหน่งงาน หรือผู้รับทำงานให้ได้รับเนื่องจากการเดินทางไปปฏิบัติงานตามหน้าที่ในประเทศหรือต่างประเทศเป็นครั้งคราว ให้ได้รับยกเว้นไม่ต้องรวมคำนวณเพื่อเสียภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาต้องเข้าลักษณะดังนี้

(1) ต้องเป็นค่าเบี้ยเลี้ยง ซึ่งบุคคลดังกล่าวได้จ่ายไปโดยสุจริตตามความจำเป็นเฉพาะในการที่จะต้องปฏิบัติการตามหน้าที่ของตน และได้จ่ายไปทั้งหมดในการนั้น

(2) ในกรณีบุคคลดังกล่าวได้รับค่าเบี้ยเลี้ยงในอัตราไม่เกินอัตราค่าเบี้ยเลี้ยงสูงสุดที่ทางราชการกำหนดจ่ายให้แก่ข้าราชการ ตามพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการในประเทศหรือต่างประเทศ แล้วแต่กรณี ตามหลักเกณฑ์การเบิกจ่ายในลักษณะเหมาจ่าย ให้ถือว่าค่าเบี้ยเลี้ยงดังกล่าว เป็นค่าเบี้ยเลี้ยงซึ่งบุคคลดังกล่าวได้จ่ายไปโดยสุจริตตามความจำเป็นเฉพาะในการที่จะต้องปฏิบัติการตามหน้าที่ของตน และได้จ่ายไปทั้งหมดในการนั้น โดยไม่ต้องมีหลักฐานการจ่ายเงินมาพิสูจน์

(3) ในกรณีบุคคลดังกล่าวได้รับค่าเบี้ยเลี้ยงในอัตราเกินกว่าอัตราค่าเบี้ยเลี้ยงตาม (2) และบุคคลดังกล่าว ไม่มีหลักฐานมาพิสูจน์ว่า ได้จ่ายไปโดยสุจริตตามความจำเป็นเฉพาะในการที่จะต้องปฏิบัติการตามหน้าที่ของตน และได้จ่ายไปทั้งหมดในการนั้น ให้ถือว่าค่าเบี้ยเลี้ยงดังกล่าวเป็นค่าเบี้ยเลี้ยง ซึ่งบุคคลนั้นได้จ่ายไปโดยสุจริตตามความจำเป็นเพียงเฉพาะในส่วนที่ไม่เกินอัตราตาม (2)

 

 

 

 

 

 

ข้อ 2 การเดินทางไปปฏิบัติงานตามหน้าที่ ตามข้อ 1 ต้องมีหลักฐานการได้รับอนุมัติให้เดินทางไปปฏิบัติงานนอกสำนักงานหรือนอกสถานที่จากนายจ้างหรือผู้จ่ายเงินได้ โดยไม่ต้องระบุลักษณะงานที่ทำ และระยะเวลาในการปฏิบัติงานตามหน้าที่ แล้วแต่กรณีด้วย

 




ข่าวภาษี-Tax

แจ้งข่าวการใช้เลขประจำตัวผู้เสียภาษีอากร 13 หลัก
มาตรการภาษีบ้านหลังแรก
การยื่นแบบและชำระภาษีผ่านอินเทอร์เน็ตออกไปอีก 8 วัน
แบบ บภ.07 คือ แบบแจ้งจำนวนและรายชื่อห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลที่ผู้ตรวจสอบและรับรองบัญชีจะลงลายมือชื่อรับรอง
อัตราค่าปรับในการยื่นภาษี article
เลิกห้างหุ้นส่วนกับภาระภาษี article
ปฏิทินภาษีอากร article
บัญชีอัตราภาษีเงินได้ article
เรื่อง การยกเว้นภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาตามมาตรา ๔๘ (๒) แห่งประมวลรัษฎากร article
เมื่อมีเงินได้เกิดขึ้นแล้ว ผู้ที่มีหน้าที่เสียภาษีควรทำอย่างไร
การหักลลดหย่อนกรณี บริจาคเงินเพื่อสนับสนุนการศึกษา article
กรณีหักลดหย่อนค่าเลี้ยงดูบิดามารดา article
สารพันปัญหาใบกำกับภาษี article
สิทธิของผู้เสียภาษี article
ภาษีป้าย article
รอบระยะเวลาบัญชีของนิติบุคคล article
ภาษีโรงเรือนและภาษีที่ดิน article
ภาษี่บำรุงท้องที่ article
ฤดูนับสต็อกปลายปี article
หลักเกณฑ์การนำผลขาดทุนสุทธิยกมาไม่เกิน 5 รอบระยะเวลาบัญชี มาเป็นรายจ่ายทางภาษีอากร article
10 กลโกงภาษี article
เงินได้พึงประเมิน 13 article
เงินได้พึงประเมิน 11 article
เงินได้พึงประเมิน 10 article
เงินได้พึงประเมิน 9 article
เงินได้พึงประเมิน 7 article
เงินได้พึงประเมิน 6 article
เงินได้พึงประเมิน 5 article
เงินได้พึงประเมิน 4 article
เงินได้พึงประเมิน 3 article
เงินได้พึงประเมิน 2 article
เงินได้พึงประเมิน 1 article
ชี้ช่องประหยัดเงิน article
ผู้ที่มีหน้าที่เสียภาษีมุลค่าเพิ่ม article
ปฏิทินการเสียภาษีสำหรับกิจการ article
20 กฏลดภาษีบุคคลธรรมดา article
10 เคล็ดลับการยื่นแบบ ภ.ง.ด.50 article
เบี้ยปรับภาษี article
ซื้อขายผ่านอินเทอร์เน็ตเก็บภาษีอย่างไร article
ชี้ช่องประหยัดเงิน (ภาษี) ภ.ง.ด.50 article
เงื่อนไขการคำนวณกำไรสุทธิตามมาตรา 65 ทวิ article
กิจการที่ได้รับการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่มตามกฎหมาย article
การหักลดหย่อนภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา article
การวางแผนภาษี 5 วิธี article
การแตกหน่ยภาษี - โดยจัดตั้งคณะบุคคล article
108 ประเด็นความผิด ภาษีนิติบุคคล (1) !! article
10 กลโกงภาษี *-* article